3. โบราณเวียงกาหลงมีแหล่งผลิตเครื่องปั้นเคลือบที่เป็นเอกลักษณ์ เรียกว่า “เครื่องถ้วยเวียงกาหลง” เครื่องปั้นบางชนิดมีการเขียนลวดลายด้วยสีต่างๆ
สารสีหลายชนิดเป็นสารประกอบของโลหะ เช่น แอนติโมนีออกไซด์ (Sb2O3) ให้สีเหลืองส้ม แบเรียมโครเมต (BaCrO3) ให้สีเหลืองซีดไปจนถึงสีเขียวสดใส นอกจากนี้ ยังพบว่ามีการนำแร่ต่างๆมาเป็นสีเขียนด้วย เช่น แร่คาลโคไซต์ (Cu2S) มีสีเทาแบบตะกั่ว แร่โครไมต์ (FeCr2O4) ให้สีดำ เป็นต้น
3.1 จงเขียนการจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบเต็มและระบุเลขออกซิเดชันของโลหะแทรนซิชันที่พบในสารสีและแร่ชนิดต่างๆที่ใช้ในการเขียนเครื่องถ้วย มา
ตอบ ธาตุแทรนซิชันที่พบในโจทย์คือ Cr และ Cu
Cr มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็น Cr 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s1 3d5
ใน BaCrO3 Cr มีเลขออกซิเดชัน +4 ในFeCr2O4 Cr มีเลขออกซิเดชัน +3
Cu มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็น Cu 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s1 3d10
ใน Cu2S Cu มีเลขออกซิเดชัน +1
3.2 เครื่องถ้วยที่เคลือบด้วยแบเรียมโครเมตมีสีเขียว มีความยาวคลื่น 512 nm จงคำนวณพลังงาน และความถี่ของแสงสีนี้
ตอบ E = hc/l
= 6.626 x10-34 Js x 3.0x108 m s-1
512 x10-
= 0.0388242188x10-17 J
= 3.8 ´10-20 kJ
n = c/l
= 3.0x108 m s-1
512 x10-
= 0.005859375 x 1017 s-1
= 5.8 x1014 s-1
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น