ชื่อนักเรียน ............เฉลย............................................. ชั้น ม. 4/1 เลขที่ ..........
แบบทดสอบวิชา เคมี -1 (โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ)
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. ในปี ค.ศ. 1869 นักเคมีชาวรัสเซีย ดมิทรี เมนเดเลเอฟ (Dmitri Ivanovich Mendeleev) และนักเคมีชาวเยอรมัน โลธาร์ ไมเออร์ (Julius Lothar Meyer) ได้เสนอรูปแบบการจัดเรียงธาตุที่สามารถทำนายสมบัติของธาตุที่ยังไม่ค้นพบได้อย่างแม่นยำ ตารางธาตุนี้ได้พัฒนามาเป็นตารางธาตุที่ใช้อย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ซึ่งสามารถใช้อธิบายและทำนายสมบัติต่างๆของธาตุได้ดีในระดับหนึ่ง
กำหนดสัญลักษณ์สมมุติของธาตุ 5 ธาตุ ดังนี้
13A 25B
1.1 ธาตุใดอยู่ในหมู่เดียวกับธาตุ C _________A__________
1.2 ธาตุใดอยู่ใน d-block ______________B________________
1.3 ธาตุใดมีขนาดอะตอมใหญ่ที่สุด ______________E_______________
1.4 ธาตุใดมีความเป็นอโลหะมากที่สุด _____________C_______________
1.5 ธาตุ A, B, C ธาตุใดมีค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตี (EN) ต่ำที่สุด _______E_____________
1.6 ธาตุในกลุ่ม A, D, E ธาตุใดมีค่าพลังงานไอออไนเซชัน ลำดับที่ 1 (IE1) ต่ำสุด __E_____
แนวคิดหลัก
· ตารางธาตุ เป็นเครื่องมือสำคัญในการบอกแนวโน้มสมบัติต่างๆ ของธาตุ
· การจัดเรียงอิเล็กตรอน จะสัมพันธ์กับตำแหนงของธาตุในตารางธาตุ
13A 2,8,3 : A [Ne] 3s2 4p1
25 B 2,8,13,2 : B [ Ar] 3d5 4s2 31C 2,8,18,3: C [Ar] 3d10 4s2 4p1
37D 2,8,18,8,1 : D [Kr] 5s1
55E 2,8,18,18,8,1: E [Xe] 6s1
¨ ธาตุหมู่เดียวกัน เวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากัน คาบเดียวกัน จำนวนระดับพลังงานเท่ากัน
¨ ขนาดอะตอม ขึ้นอยู่กับจำนวนโปรตอน(เลขอะตอม) และ จำนวนระดับพลังงาน(มีอิทธิพลมากกว่า)
จำนวนโปรตอนมาก ขนาดอะตอมเล็ก จำนวนระดับพลังงานมาก ขนาดอะตอมใหญ่
¨ IE เป็นพลังงานที่ใช้ดึง e ออกจากอะตอมในสถานะแก๊ส โปรตอนมาก IE สูง
ขนาดอะตอมใหญ่ IE ต่ำ
¨โลหะเสียอิเล็กตรอนได้ง่าย มี IE ต่ำ จากซ้ายไปขวา ของตารางธาตุ ความเป็นโลหะลดลง
¨EN เป็นความสามารถในการดึง e เพิ่มตามจำนวน โปรตอน แต่จะลดลงถ้าขนาดอะตอมใหญ่ขึ้น
ENวัดขณะที่สร้างพันธะ ธาตุหมู่ VIIA จึงไม่มีค่า EN ยกเว้น Kr ,Xe ที่เกิดสารประกอบได้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น